moreclix.com

การ เคลื่อนที่ ของ สาร ผ่าน เยื่อ หุ้ม เซลล์

  1. การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ (Cell Transportation) – Rujrawee's site
  2. การเข้าออกของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
  3. การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
  4. Pantip
  5. การเคลื่อนที่ของสารเข้าออกเซลล์
  6. การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ - การรักษาดุลยภาพของเซลล์

3 การออสโมซิส คือการเคลื่อนที่ของน้ำผ่านเยื้อเลือกผ่านโดยทิศทางเคลื่อนที่คือนํ้าจะเคลื่อนที่ จากบริเวณที่มีความหนาแนนของนํ้ามาก (สารละลายเจือจาง) ไปยังบริเวณที่มีความหนาแนนของนํ้าน้อย (สารละลายเขมขน) จนกระทั่งถึงจุดสมดุลเมื่ออัตราการเคลื่อนที่ของนํ้าผานเยื่อเลือกผานไปและกลับมีคาเทา ๆ กัน การออสโมซิสจะมีผลทำให้รูปร่างของเซลล์เปลี่ยนแปลงดังนี้ 1. Isotonic solution คือสารละลายที่มีความเขมขนเทากับ ความเขมขนของสารละลายภายในเซลล  ดังนั้นเซลลที่อยูในภาวะที่มีสารละลายไอโซโทนิกลอมรอบ จึงไมมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น ซึ่งมีความสําคัญมากในสิ่งมีชีวิต โดยเฉพาะการคงรูปรางของเซลลสัตวการที่เม็ดเลือดแดงไหลเวียนอยูในนํ้าเลือดโดยไมเหี่ยวแฟบหรือพองโตจนแตก เนื่องจากความเขมขนของ สารละลายนํ้าเลือดเปนไอโซโทนิกตอสารละลายภายในเม็ดเลือดแดง 2. Hypertonic solution คือสารละลายที่มีความเขมสูงเมื่อเทียบกับความเขมขนของสารละลายภายในเซลล ดังนั้น ถาเซลลอยูในภาวะที่มีสารละลายไฮเปอรโทนิกอยูลอมรอบ เยื่อหุมเซลลจะหดตัวและเหี่ยวแฟบลงเนื่องจากมีการสูญเสียนํ้าจากเซลลเราเรียกกระบวนการแพรของนํ้าออกมาจากไซโทพลาสซึมและมีผลทําใหเซลลมีปริมาณเล็กลงนี้วา พลาสโมไลซิส (Plasmolysis) 3.

การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ (Cell Transportation) – Rujrawee's site

การเข้าออกของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์

การลำเลียงสารโดยผ่านเยื้อหุ้มเซลล์ แบ่งเป็น 2 ลักษณะ 1. 1การลำเลียงสารผ่านเยื้อหุ้มเซลล์โดยไม่ใช้พลังงานจากเซลล์ ( Passive transport) ได้แก่ 1. 1. 2 การแพร่ ( diffusion) คือการเคลื่อนที่ของโมเลกุลหรืออิออนของสารโดยอาศัยพลังงานจลน์ในโมเลกุลของสารเอง ทิศทางการแพร่จะเกิดจากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงไปสู่บริเวณที่มีความเข้มข้นต่ำเสมอจนในที่สุดบริเวณทั้งสองจะมีความเข้มข้นเท่ากัน ซึ่งเรียกว่า จุดสมดุลของการแพร่ ( Dynamic Equilibrium) การแพร่แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ 1.

การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์

  1. การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ - การรักษาดุลยภาพของเซลล์
  2. หวยซอง นกตาทิพย์ งวดวันที่ 16/10/64 : lotto88
  3. ต่างประเทศ - ศึกษาพบ‘ค้างคาว’ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อาจแพร่'ไวรัสโคโรนา'พันธุ์ใหม่บ่อยกว่าที่คิด
  4. การเข้าออกของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
  5. กะดึกไม่จำกัดอายุ ข้อเสนองาน - Trovit

Pantip

ตองอาศัยตัวพา (Carrier) คลายการแพรโดยอาศัยตัวพา (Facilitated diffusion) แตกลไก การทํางานของตัวพาในกระบวนการแอกทีฟทรานสปอรตมีความซับซอนกวา ตัวอยางกระบวนการแอกทีฟทรานสปอรต – การดูดกลับสารที่ทอของหนวยไต – การสะสมกลูโคสเพื่อเปลี่ยนรูปเปนไกลโคเจนของเซลลตับ – การดูดซึมสารอาหารของเซลลเยื่อบุผนังลําไสเล็กเมื่อความเขมขนของสารอาหารตํ่ากวา – Na+ -K+ pump หรือการขับ Na+ และการรับ K+ของใยประสาท – การลําเลียงแรธาตุของเซลลรากพืชเมื่อความเขมขนของแรธาตุในดินตํ่ากวาของเซลลราก 2. การลำเลียงสารไม่ผ่านเยื้อหุ้มเซลล์โดยการสร้างถุงจากเยื้อหุ้มเซลล์ เป็นวิธีการที่สารถูกนำเข้าหรือออกจากเซลล์โดยที่เยื้อหุ้มเซลล์จะห่อหุ้มเอาสารนั้นเข้าเป็นถุง หลังจากนั้นเยื้อหุ้มเซลล์ส่วนที่เป็นถุงก็จะหลุดออกจากเยื้อหุ้มเซลล์ส่วนอื่นๆกลายเป็นถุงเล็กๆการลําเลียงสารโดยวิธีนี้ตองอาศัยพลังงานจากเซลลเขารวมดวยแบงเปน 2 ลักษณะ 2. 1 การนําสารเขาสูภายในเซลล (Endocytosis) 2. 1 พิโนโซโตซิส (Pinocytosis = Cell drinking) คือ วิธการนําสารที่เปนของเหลวหรือ สารละลายเขาสูเซลล โดยการทําใหเยื่อหุมเซลลเวาเขาไปในไซโทพลาสซึมทีละนอยจนกลายเปนถุงเล็ก ๆ (Vesicle) และถุงนี้จะปดสนิทหลุดเขามาอยูในไซโทพลาสซึม เชน การนํา สารเขาสูเซลลที่หนวยไต, การนําไขมันเขาสูเซลลเยื่อบุของลําไส้ 2.

การเคลื่อนที่ของสารเข้าออกเซลล์

1. การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ การลำเลียงแบบไม่ใช้พลังงาน การแพร่ ( diffusion) 1. การแพร่แบบธรรมดา เป็นการเคลื่อนที่ของโมเลกุลจากจุดที่มีความเข้มข้นสูงกว่า ไปยังจุดที่มีความเข้มข้นต่ำกว่า การเคลื่อนที่นี้เป็นไปในลักษณะทุกทิศทุกทาง โดยไม่มีทิศทางที่แน่นอน ตัวอย่างการแพร่ที่พบได้เสมอคือ การแพร่ของเกลือในน้ำ การแพร่ของน้ำหอมในอากาศ การแพร่เกิดจากพลังงานจลน์ ( kinetic energy) ของโมเลกุลหรือไอออนของสาร บริเวณที่มีความเข้มข้นมากโมเลกุลหรือไอออนก็มีโอกาสชนกันมาก ทำให้โมเลกุลกระจายไปยังบริเวณอื่นๆ ที่มีความเข้มข้นของโมเลกุลหรือไอออนเท่ากัน จึงเรียกว่า ภาวะสมดุลของการแพร่ ( diffusion equilibrium) ปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่ 1. อุณหภูมิ ในขณะที่อุณหภูมิสูง โมเลกุลของสารมีพลังงานจลน์มากขึ้น ทำให้โมเลกุลเหล่านี้เคลื่อนที่ได้เร็วกว่า เมื่ออุณหภูมิต่ำ การแพร่จึงเกิดขึ้นได้เร็ว 2. ความแตกต่างของความเข้มข้น ถ้าหากมีความเข้มข้นของสาร 2 บริเวณแตกต่างกันมาก จะทำให้การแพร่เกิดขึ้นได้เร็วขึ้นด้วย 3. ขนาดของโมเลกุลสาร สารที่มีขนาดโมเลกุลเล็กจะเกิดการแพร่ได้เร็วกว่าสารโมเลกุลใหญ่ 4. ความเข้มข้นและชนิดของสารตัวกลาง สารตัวกลางที่มีความเข้มข้นมากจะมีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของตัวกลางมาก ทำให้โมเลกุลของสารเคลื่อนที่ไปได้ยาก แต่ถ้าหากสารตัวกลางมีความเข้มข้นน้อย โมเลกุลของสารก็จะเคลื่อนที่ได้ดีทำให้การแพร่เกิดขึ้นเร็วด้วย 2.

การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ - การรักษาดุลยภาพของเซลล์

2 พาโกไซโตซิส (Phagocytosis = Cell eating) คือวิธีการนําสารที่มีลักษณะเปนของ แข็งหรือเซลลขนาดเล็ก ๆ เขาสูเซลลโดยการสรางซูโดโปเดียม (Pseudopodium) โอบลอมสารนั้นแลวเกิด เปนถุงหลุดเขาไปภายในเซลล เชน การจับเชื้อโรคจําพวกแบคทีเรียของเซลลเม็ดเลือดขาว การกิน อาหารของอะมีบา 2. 3 การนําสารเขาสูเซลลโดยอาศัยตัวรับ (Recepter – mediated endocytosis) เปนเอนโดไซโทซิสที่ใชตัวรับ (Receptor) บนเยื่อหุมเซลล ตัวรับทําหนาที่จับสารกอน จากนั้นจึงเกิดการเวาของเยื่อหุมเซลล โดยสารที่ลําเลียงตองมีความจําเพาะจับกับตัวรับ ตัวอย่างเช่น การนำสารจำพวกลิโพโปรตีน ซึ่งมีลักษณะเป็นอนุภาคเข้าสู่เซลล์ไข่ซึ่งยังเจริญไม่เต็มที่ของไก่ 2. 2 การนําสารออกสูภายนอกเซลล (Exocytosis) คือ การนําสารออกสูภายนอกเซลลเปนกระบวนการที่เซลลกําจัดสารออกนอกเซลล เชน กากอาหารที่เหลือจากการยอยของเสียของเซลลฯลฯหรือการหลั่งสารที่เปนประโยชนโดยเซลลสรางขึ้นแลวสงออกนอกเซลล เชน เอนไซม ฮอรโมน สารเผือกฯลฯ

Hypotonic solution คือสารละลายที่มีความเขมขนตํ่า เมื่อเทียบกับความเขมขนของสารละลายในเซลล ดังนั้นถาเซลลอยูในภาวะที่มีสารละลายไฮโปโทนิกลอมรอบเซลลจะขยายขนาดหรือมีปริมาตรเพิ่มขึ้น เนื่องจากเกิดการแพรของนํ้า จากสารละลายภายนอกเขาสูภายในเซลลและทําใหเซลลเกิดแรงดันเพิ่มขึ้น ดันใหเซลลยืดขยายออกไปเรียกปรากฏการณนี้วา พลาสมอบไทซิส(Plasmoptysis) 1. 2 การลำเลียงสารผ่านเยื้อหุ้มเซลล์โดยใช้พลังงานจากเซลล์ ( Active transport) คือการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของสารจากบริเวณที่มี ความหนาแน่นน้อยไปสู่บริเวณที่มีความหนาแน่นมากโดยอาศัยพลังงานในรูปATPจากเซลล์ กระบวนการนี้นับว่ามีความสำคัญอย่างหนึ่งที่ทำให้เซลล์สามรถรักษาสภาวะสมดุลอยู่ได้ กระบวนการแอกทีฟทรานสปอรต มีคุณลักษณะสําคัญ ดังนี้ 1. เปนกระบวนการลําเลียงสารจากบริเวณที่มีความหนาแนนของสารตํ่าไปยังบริเวณที่มีความ หนาแนนของสารสูงกวา โดยผานเยื่อหุมเซลล ซึ่งตางจากการแพรที่มีการเคลื่อนที่ของสารจากบริเวณที่มี ความหนาแนนของสารสูงไปยังบริเวณที่มีความหนาแนนของสารตํ่า 2. กระบวนการนี้ตองอาศัยพลังงานจากเซลลที่อยูในรูปของสารใหพลังงานสูง คือ ATP(Adenosine triphosphate) การใชพลังงานนี้เกิดที่ผนังดานในของเยื่อหุมเซลล แตในกระบวนการแพร ไมใชพลังงานจากเซลล การเคลื่อนที่ของโมเลกุลจะใชพลังงานจลนภายในตัวของมันเอง 3.

November 5, 2021, 6:55 pm

กาญจนบุรี ค้า เหล็ก สาขา นครปฐม, 2024 | Sitemap